เป้าหมายหลัก

วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

main

Mind mapping

ผังมโนทัศน์



ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๖ Quarter 1 ปีการศึกษา ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
หนังสือ/ตอน
สาระเนื้อหา
หลักภาษา








Quarter 1
วรรณกรรม

เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
น้ำฝน
ในอดีตระบบน้ำประปายังไม่ทั่วถึงและยังไม่พัฒนาเหมือนกับปัจจุบัน ในฤดูร้อนอากาศแห้งแล้งน้ำมีใช้น้อยต้องหาบน้ำจากบ่อขุดไปใส่ตุ่มดินเตรียมไว้และต้องหาบครั้งละหลายๆเที่ยวจึงจะเต็มตุ่ม เมื่อถึงฤดูฝนจึงเป็นฤดูที่ทุกคนได้มีโอกาสได้ดื่มน้ำฝนที่ในยุคนั้นน้ำฝนเป็นน้ำที่สะอาดที่สุด ต้องล้างตุ่มและเก็บน้ำฝนใสตุ่มไว้ใช้ตลอดทั้งปี เด็กก็ได้ผลพลอยเล่นน้ำฝนกันสนุกและไม่ต้องหาบน้ำไกลๆอีกด้วย
-การเขียนย่อความ
-การแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์
ข้าวสุกหนึ่งจาน
ข้าวเป็นอาหารหลักของทุกชนชั้น เป็นพลังงาน เป็นเลือดเนื้อในร่างกายเรา กว่าจะเป็นข้าวสุกหนึ่งจานมาให้เราได้กินต้องแลกมาจากหยาดเหงื่อและความเหนื่อยยากของชาวนา ทั้งคนที่อดอยากไม่มีข้าวกินอุดมสมบูรณ์ก็มีอีกมาก ดังนั้นเราทุกคนจึงกินข้าวทุกมื้ออย่างเคารพและรู้คุณค่าของข้าวทุกเม็ด
-เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
-ละครบทบาทสมมุติ
เรือไม้ซาง
ทั้งในอดีตและปัจจุบัน เราหาความสุขจากความพอใจจากสิ่งที่มีอยู่รอบๆตัวเราได้ง่ายๆ เรามีธรรมชาติที่สามารถนำมาทำเป็นของเล่นมากมาย เรือไม้ซางก็เป็นของเล่นอีกชิ้นหนึ่งที่หาได้จากวัสดุธรรมชาติใกล้ตัว ที่เล่นได้สนุกไม่แพ้ของเล่นสมัยใหม่ทั้งยังได้เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวด้วย (ลม ทิศทาง กลไก การแก้ปัญหา ฯลฯ)
-ชนิดของคำ (คำสันธาน คำบุพบท)
-ประโยคและการแต่งประโยค
สัมมาคาระ
เราอยู่ร่วมกันในสังคม แต่ละสังคมมีวิถีและการปฏิบัติที่แตกต่าง มีมารบาทที่พึงปฏิบัติไม่เหมือนกัน สังคมไทย หรือสังคมไหนๆก็ล้วนมีสิ่งที่พึงปฏิบัติเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเคารพ
อักษรย่อและการนำไปใช้
เมื่อละครไทยไปอเมริกา
ทุกสิ่งในโลกย่อมเกิดการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เปนการเปลี่ยนแปลงทางดานชีวิตความเปนอยู หรือวิถีแหงการดํารงชีวิต ซึ่งครอบคลุมทั้งที่เป็นวัตถุและไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลงทั้ง
สองอยางอาศัยซึ่งกันและกัน เพราะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ก็จะทําใหวัฒนธรรมของสังคม
แหงนั้นเปลี่ยนแปลงไปดวย ในทํานองเดียวกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ก็มีการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมควบคูไปดวย เราเห็นการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทุกยุกต์ทุกสมัย
-คำที่มีการันต์
-การเขียนเรื่องสร้างสรรค์
ไม่มีอะไรเหลือทิ้ง
สิ่งต่างๆรอบตัวเราล้วนมีคุณค่าและสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสูงสุด ไม่มีสิ่งใดใช้ประโยชน์ไม่ได้ ขึ้นอยู่กับเราว่า เราเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นๆแล้วสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ออย่างคุ้มค่าเพียงไร ไม่มีสิ่งใดเหลือทิ้งหากเรารู้จักดัดแปลงและนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
คำควบกล้ำ ร ล ว (ควบแท้ ควบไม่แท้ )
ใบตอง
ปัจจุบันมีภาชนะให้เราเลือกบรรจุ เลือกใส่ได้หลากหลายทั้งที่ผลิตจากวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ ใบตองก็เป็นอีกวัสดุหนึ่งที่นำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายบรรจุ ห่อได้ทั้งอาหารคาว อาหารหวาน  เป็นวัสดุที่หาง่าย ในบ้าน ในชุมชน ปัจจุบันใบตองก็เป็นทางเลือกหนึ่งในการลดขยะและช่วยดูแลสิ่งแวดล้อม
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
ลูกอีสาน


(๒ สัปดาห์)
การถ่ายทอดเรื่องราวจากประสบการณ์ด้วยภาษาที่ตรงไปตรงมา และแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวอีสานว่าต้องเผชิญกับความยากลำบากอย่างไร การเรียนรู้ที่จะอดทนเพื่อเอาชนะกับความยากแค้นตามธรรมชาติ ด้วยความมานะบากบั่น ความเอื้ออารีที่มีให้กันในหมู่คณะ ความเคารพในระบบอาวุโส เรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณี ตลอดจนความเชื่อของชาวอีสาน โดยผ่านเด็กชายคูน รวมไปถึงการบรรยายถึงสภาพความเป็นไปตามธรรมชาติของผู้คนและสภาพแวดล้อม เช่น การเกี้ยวพาราสีกันของทิดจุ่นและพี่คำกอง จนท้ายที่สุดก็ได้แต่งงานกัน การออกไปจับจิ้งหรีดของคูน การเดินทางไปหาปลาที่ลำน้ำชีเพื่อนำปลามาทำอาหาร และเก็บถนอมเอาไว้กินนานๆ ด้วยการทำปลาร้า เป็นต้น เรื่องราวทั้งหมด นั้นเน้นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ แสดงวิธีการของการดำรงชีวิตตามธรรมชาติในถิ่นอีสาน

การเขียนเรียงความ

ละครบทบาทสมมุติ

คุณค่าของวรรณกรรมที่ได้เรียนรู้ การนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
สรุปองค์ความรู้

เค้าโครงการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย                                  
ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๖  ปีการศึกษา ๒๕๕๘  Quarter 1
หน่วยการเรียน เรื่อง เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.๑
การเขียน
ท ๒.๑
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
เป้าหมายการเรียนรู้


๑๔-๑๕พฤษภาคม  ๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
หลักภาษาไทย
แนะนำหนังสือและคาดเดาเรื่องราว
การเขียนบันทึก
- ทบทวนแผนภาพความคิด

- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน         

- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด







- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
  - ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๒ เล่า สรุปเรื่องที่ตนเองอ่านให้ผู้อื่นเข้าใจ ผ่านรูปแบบการนำเสนอที่หลากหลายได้
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง





นักเรียน มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน อ่านและเขียนพยัญชนะได้ถูกต้อง  มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด  สามารถแสดงความคิด ความรู้สึกและจินตนาการได้อย่างอิสระ  รวมทั้งสามารถคาดเดาเรื่องหรือคาดคะเนเหตุการณ์ได้อย่างมีเหตุผล บอกเล่าให้คนอื่นฟังได้ สามารถจับใจความสำคัญของเรื่องที่อยากเรียนรู้และถ่ายทอดผ่านการเล่า เขียนบันทึกให้คนอื่นรับทราบได้

๑๘-๒๒
 พฤษภาคม ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
-น้ำฝน

หลักภาษาไทย
การเขียนย่อความ




- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        



- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนเรื่องย่อ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๕ พูดสื่อสารแลกเปลี่ยนอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค และการย่อความ
   

 

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
-

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ เข้าใจความหมายของคำ ประโยค และเรื่องที่อ่านจับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียนอธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
เขียนย่อความเรื่องที่อ่านได้  มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้  สามารถอ่านและเขียนสรุปเรื่องย่อได้ถูกต้อง  
มีมารยาทในการพูดและฟัง


๒๕ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
-เรือไม้ซาง


หลักภาษาไทย
คำเชื่อม
การแต่งประโยค


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำเชื่อมได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค และคำเชื่อมประโยคอย่างเหมาะสม
- ป.๖/๖ วิเคราะห์และเปรียบเทียบประโยคที่ใช้คำเชื่อมแตกต่างกัน  

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๒ เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นพื้นบ้านตนเอง และนิทานพื้นบ้านท้องถิ่นอื่น
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถคำเชื่อมประโยคในการแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์ได้อย่างเหมาะสม เขียนย่อความได้ถูกต้อง  มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม  สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้



๑ – ๔
 มิถุนายน  ๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
-ข้าวสุกหนึ่งจาน

หลักภาษาไทย
การแต่งเรื่องตามจินตนาการ





- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องวรรณกรรม ตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๕ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยคและเรื่องที่แต่ง พร้อมทั้งใช้หลักภาษาได้อย่างเหมาะสม

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตอย่างเหมาะสม

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวทั้งร้อยแก้ว และจับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถอ่าน  และ เขียนแต่งเรื่องตามจินตนาการสร้างสรรค์เขียนวิพากษ์ วิจารณ์เรื่องที่อ่าน  สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้






๑๑มิถุนายน  ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
-สัมมาคารวะ

หลักภาษาไทย
อักษรย่อ


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๔ เขียนเรียงความ และเขียนรายงาน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน



- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๕ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำ หรืออักษรย่อได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยคและการนำอักษรย่อไปใช้อย่างเหมาะสม
- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่อง รวมทั้งจากสำนวน สุภาษิต คำพังเพยแล้วนำมาปรับใช้ในชีวิตได้ สามารถอ่าน  และเขียนอักษรย่อ รวมทั้งการนำไปใช้ได้ถูกต้อง   มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม 
สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้



๑๕ ๑๘มิถุนายน  ๒๕๕  
หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
-เมื่อละครไทยไปอเมริกา

หลักภาษาไทย
คำที่มีตัวการันต์


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านวรรณกรรมตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค การอ่าน การเขียนคำที่มีการันต์
- ป.๖/๕ เขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
-ป.๖/๔ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล  มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้  สามารถอ่านและเขียนคำที่มีการันต์ได้ถูกต้อง  มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม 





๒๒ ๒๕ มิถุนายน  ๒๕๕
หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก --ไม่มีอะไรเหลือทิ้ง


หลักภาษาไทย
คำควบกล้ำ


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านวรรณกรรมตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค
- ป.๖/๕ เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์โดยใช้คำที่มีการันต์อย่างถูกต้อง เหมาะสม
- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของ วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง


นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล  มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้  สามารถอ่านและเขียนคำควบกล้ำได้ถูกต้อง  มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม 





๒๙มิถุนายน
 
๒กรกฎาคม  ๒๕๕๘


หน่วยการเรียนรู้
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก ใบตอง


หลักภาษาไทย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๕ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย และการนำไปอย่างเหมาะสม

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของ วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ เข้าใจความหมายของ
บทกลอน  จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
ฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่ฟัง ที่อ่าน สามารถ บอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถอ่าน  และ ถอดสาระสำคัญของสำนวน สุภาษิต คำพังเพยได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์    มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม 
สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้




กรกฎาคม  ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
ลูกอีสาน

หลักภาษาไทย
การเขียนเรียงความ


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน        
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๔ เขียนเรียงความ
- ป.๖/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของเรียงความต่างๆและเลือกใช้อย่างเหมาะสม

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองได้ เข้าใจความหมายของ
บทกลอน  จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ได้เหมาะสม มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม 
สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้
๑๐


๑๓ ๑๖มิถุนายน  ๒๕๕๘



หน่วยการเรียนรู้
-ลูกอีสาน


ภาษาไทย
-ละครบทบาทสมมุติ
-สรุปองค์ความรู้


- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน      
- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๕ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค
- ป.๖/๖ วิเคราะห์และเปรียบเทียบสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต  

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้องแก้วได้ เข้าใจความหมายสาระสำคัญของเรื่อง  จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถสรุปองค์ความรู้วรรณกรรมไทยจากเรื่องที่เรียนมาและถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นได้  อีกทั้งสรุปองค์ความรู้การเรียนภาษาไทย  และนำเสนอได้
๑๑


๒๐ ๒๓มิถุนายน  ๒๕๕๘



หน่วยการเรียนรู้
-เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก
-ลูกอีสาน


ภาษาไทย
สรุปองค์ความรู้

- ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
- ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคำ  ประโยค  และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๓ อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด  และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
- ป.๖/๕ อธิบายและนำความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปใช้ในการตัดสินใจ หรือการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
- ป.๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อเสนอแนะและปฏิบัติตาม
- ป.๖/๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
- ป.๖/๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
-ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน      

- ป.๖/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
- ป.๖/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  ชัดเจน  และเหมาะสม
- ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง  และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
- ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน

- ป.๖/๑ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ดูและฟัง
- ป.๖/๒ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดูและการสนทนา
- ป.๖/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
- ป.๖/๕ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
- ป.๖/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
- ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
- ป.๖/๓  ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
- ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค
- ป.๖/๖ วิเคราะห์และเปรียบเทียบสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต  

- ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน
- ป.๖/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้องแก้วได้ เข้าใจความหมายสาระสำคัญของเรื่อง  จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถสรุปองค์ความรู้วรรณกรรมไทยจากเรื่องที่เรียนมาและถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นได้  อีกทั้งสรุปองค์ความรู้การเรียนภาษาไทย  และนำเสนอได้